การบ้าน บทที่2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์


1. จงอธิบายความหมาย พร้อมยกตัวอย่างของคำดังต่อไปนี้
-Hardware (ฮาร์ดแวร์)
คือ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบขึ้นมาใช้งานได้ ซึ่งสามารถแบ่งส่วนประกอบได้ 3 ส่วนที่สำคัญ คือ
1. อุปกรณ์รับข้อมูล  เช่น แป้นพิมพ์ (Keyboard),เมาส์(Mouse),แทร็กบอล(Track ball) ,เครื่องอ่านบาร์โค๊ด(Barcode Reader)
2. อุปกรณ์ของหน่วยประมวลผล เช่น หน่วยความจำ (Memory Unit)แบ่งเป็นหน่วยความจำหลักและหน่วยความจำสำรอง
3. อุปกรณ์แสดงผล เช่นจอภาพ (Monitor),เครื่องพิมพ์ (Printer),ลำโพง (Speaker)
-Software (ซอฟท์แวร์)
เป็นส่วนของโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เพื่อที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวอาจจะเขียนอยู่ในรูปของภาษาเครื่องที่จะทาให้เครื่องเข้าใจและทางานได้โดยตรงwfได้แก่ ซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์ประยุกต์
-ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ-ระบบปฏิบัติการหรือควบคุมเครื่อง
ยูติลิตี้โปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง
ดีไวท์ไดร์ฟเวอร์โปรแกรมไดร์ฟเวอร์ของอุปกรณ์ต่อพ่วง
ตัวแปลภาษา-โปรแกรมแปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาระดับสูงซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เป็น Software ที่ใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น
Software สำหรับงานธนาคารการฝากถอนเงิน
Software สำหรับงานทะเบียนนักเรียน
ซอฟต์แวร์คิดภาษี ซอฟต์แวร์การให้บริการร้าน Seven ฯลฯ
ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมีความสามารถในการทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งานด้านเอกสาร (Microsoft Word ) มีความสามารถในการสร้างงานเอกสารต่าง ๆ จัดทำเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทำหนังสือเวียน จัดทำสื่อสิ่งพิมพ์
-Peopleware หรือ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์
หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้)
1.ผู้จัดการระบบ (System Manager)คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว
4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทางานได้ตามที่ต้องการ
-Data  หรือข้อมูล
ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจาก การ ดาเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจได้ทันที จะนาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว
-การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล-มอง, ฟัง , สัมผัส
-การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลที่ได้รับ-ปฐมภูมิ
-การสังเกต,การสัมภาษณ์,การจดบันทึก,การสารวจ-ทุติยภูมิ
-ผลจากการนาข้อมูลปฐมภูมิมาประมวลผล
-การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์-ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) -ข้อมูลภาพ (Image Data) -ข้อมูลเสียง (Sound Data) -ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data)
การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพิวเตอร์-ข้อมูลเชิงจานวน (Numeric Data) มีลักษณะเป็นตัวเลขที่สามารถนามาคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ได้-ข้อมูลอักขระ (Character Data) มีลักษณะเป็นตัวอักษร ตัวหนังสือ และสัญลักษณ์ต่างๆ ซึ่งสามารถ นาเสนอข้อมูลและเรียงลาดับได้แต่ไม่สามารถนามาคำนวณได้ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เลขที่บ้าน และชื่อของนักเรียน-ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากจุดพิกัดทางคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดรูปภาพหรือแผนที่ เช่น เครื่องหมายการค้า แบบก่อสร้างอาคาร และกราฟ-ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลแสดงความเข้มและสีของรูปภาพที่เกิดจากการสแกนของสแกนเนอร์เป็นหลัก ซึ่งสามารถนาเสนอข้อมูล ย่อหรือขยาย และตัดต่อได้ แต่ไม่สามารถนามาคำนวณหรือ ดาเนินการอย่างอื่นได้

-Information หรือ สารสนเทศ
คือสิ่งที่ได้จากการประมวลผลของข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผน การพัฒนา การควบคุม และการตัดสินใจ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความถูกต้อง สมบูรณ์ น่าเชื่อถือ มีความทันสมัย โดยมีรูปแบบการนาเสนอที่สวยงาม ชัดเจน น่าสนใจ และเข้าใจได้ง่าย
1)      การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้าและบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา2) การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดังตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น4) การคำนวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคำนวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย

2. หากนักศึกษาเป็นเจ้าของธุรกิจ ดังต่อไปนี้ (เลือก 1 ธุรกิจ) จะนำองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ Hardware ,Software และ Peopleware ใดมาใช้ในธุรกิจบ้าง เพราะเหตุใดจงอธิบาย
ร้านอาหาร
Hardware  สำหรับร้านอาหาร
            -จอภาพ นำมาใช้เพื่อแสดงภาพตัวอย่างของอาหาร แสดงรายการที่ลูกค้าสั่งอาหารในร้านและทางออนไลน์  แสดงลำดับสั่งก่อน-หลัง แสดงโปรโมชั่นต่างๆ 
           -เครื่องบันทึกเงินสด   ใช้ในการคิดค่าอาหาร พิมพ์ใบเสร็จรับเงิน 
Software  สำหรับร้านอาหาร
-โปรแกรมสำเร็จ
โปรแกรมในการคำนวณ ค่าอาหารรวมภาษี ส่วนลด
โปรแกรมในการคำนวณเงินเดือนพนักงาน
Peopleware   สำหรับร้านอาหาร
-โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ในการเขียนโปรแกรมสำหรับใช้ในร้าน เช่น รายการอาหาร ราคาเท่าไหร่ ส่วนลดเท่าไหร่ และการจองโต๊ะล่วงหน้า จะเป็นบุคลากรที่มีความรู้ แต่จะใช้เป็นครั้งคราวฯลฯ
-ผู้ใช้ (User) จะให้เป็นพนักงานประจำใช้ในการรับสั่งอาหาร  คิดค่าอาหาร รับสั่งจองโต๊ะ ออนไลน์
3. ให้นักศึกษา แสดงข้อมูล จำนวน 1 ชุด พร้อมทั้งแสดงในรูปแบบของระบบสารสนเทศ
ตารางแสดงระดับคะแนนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียน 3 คน

ชื่อ / ระดับคะแนน
ภาคเรียนที่ 1
ภาคเรียนที่ 2
ภาคเรียนที่ 3
ภาคเรียนที่ 4
 ด.ช. รักดี
4
4
4
4
 ด.ช. รักเรียน
3
2
2
4
 ด.ช. ขยัน
2
3
2
4




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น